แผนกวิชาบริหารธุรกิจ วษ.ท. อุบลราชธานี

เว็บไซต์เพื่อการศึกษา

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
>การศึกษาอาชีพด้านการเกษตรและบริหารธุรกิจ และอุตสาหกรรม ผู้เรียนจำต้องเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงควบคู่กับทฤษฎีและการวิจัย การมีสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ให้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. ได้ศึกษาต่อยอดระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีสาขาการเกษตรที่สนใจ จะทำให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทยที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศดีขึ้น พัฒนาคนได้ตรงจุด
แผนกวิชาบริหารธุรกิจ >> ประกันคุณภาพ >> การประกันคุณภาพภายใน >> การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2552

การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2552

พิมพ์
ดัชนีบทความ
การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2552
หน้า 2
หน้า 3
หน้า 4
ทุกหน้า

การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา  2552

      ในปีการศึกษา 2552 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ให้ประกันคุณภาพถึงแผนกวิชา โดยใช้มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสำหรับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลัยประมงที่พัฒนาขึ้นภายใต้มาตฐานการอาชีวศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2549 เพื่อให้สถานศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลัยประมง ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการจัดการอาชีวศึกษาในสถานศึกษาให้เกิดคุณภาพ  และใช้กำกับติดตามตรวจสอบการดำเนินงาน รวมทั้งการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาในสังกัด  ประกอบด้วย 7 มาตรฐาน 45 ตัวบ่งชี้

 มาตรฐาน 7 มาตรฐาน ประกอบด้วย 

มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและสำเร็จการศึกษาวิชาชีพเกษตรกรรมและประมง  12 ตัวบ่งชี้  คือ
      ตัวบ่งชี้ที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่กำหนดตามชั้นปี
      ตัวบ่งชี้ที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอย่างเป็นระบบ
      ตัวบ่งชี้ที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
      ตัวบ่งชี้ที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนทีมีความสามารถใช้ความรู้และเทคโนโลยีที่จำเป็นในการศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติงานวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
      ตัวบ่งชี้ที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
      ตัวบ่งชี้ที่ 6 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา ทีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
      ตัวบ่งชี้ที่ 7 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา ทีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตมหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
     ตัวบ่งชี้ที่ 8 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
     ตัวบ่งชี้ที่ 9 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
     ตัวบ่งชี้ที่ 10 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำในสถานประกอบการ/ ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อภายใน  1 ปี
     ตัวบ่งชี้ที่ 11 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ทีมีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา
     ตัวบ่งชี้ที่ 12 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี



แก้ไขล่าสุด ใน วันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2011 เวลา 04:44 น.  

พยากรณ์อากาศ


เข้าสู่ระบบ

เคาน์เตอร์ผู้เยี่ยมชม

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้17
mod_vvisit_counterเมื่อวานนี้68
mod_vvisit_counterสัปดาห์นี้324
mod_vvisit_counterสัปดาห์ก่อน660
mod_vvisit_counterเดือนนี้1510
mod_vvisit_counterเดือนก่อน3739
mod_vvisit_counterรวมทุกวัน411229

สถิติผู้เข้าชม

จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 158879

บุคคลออนไลน์ขณะนี้

เรามี 2 บุคคลทั่วไป ออนไลน์

โพลล์

ความพึงพอใจต่อการดาวโหลดเอกสารหน้าเว็บ