แผนกวิชาบริหารธุรกิจ วษ.ท. อุบลราชธานี

เว็บไซต์เพื่อการศึกษา

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
>การศึกษาอาชีพด้านการเกษตรและบริหารธุรกิจ และอุตสาหกรรม ผู้เรียนจำต้องเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงควบคู่กับทฤษฎีและการวิจัย การมีสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ให้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. ได้ศึกษาต่อยอดระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีสาขาการเกษตรที่สนใจ จะทำให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทยที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศดีขึ้น พัฒนาคนได้ตรงจุด
แผนกวิชาบริหารธุรกิจ >> ประกันคุณภาพ >> การประกันคุณภาพภายใน >> การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2552

การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2552

พิมพ์
ดัชนีบทความ
การประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2552
หน้า 2
หน้า 3
หน้า 4
ทุกหน้า

มาตรฐานที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน  17 ตัวบ่งชี้ คือ
      ตัวบ่งชี้ที่ 13 ร้อยละของหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพ
      ตัวบ่งชี้ที่ 14 ร้อยละของแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ
      ตัวบ่งชี้ที่ 15 สถานศึกษาจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย (ร้อยละของผู้เรียนที่จัดทำโครงการวิชาชีพทางการเกษตร)
      ตัวบ่งชี้ที่ 16 ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการสอนของครูผู้สอน (ใช้มาตรวัด 5 ระดับ)
      ตัวบ่งชี้ที่ 17 ร้อยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝึก อุปกรณ์ สำหรับการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม
      ตัวบ่งชี้ที่ 18 ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอร์ในแต่ละสาขาวิชา
      ตัวบ่งชี้ที่ 19 ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน พื้นที่ฝึกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเกิดประโยชน์สูงสุด
      ตัวบ่งชี้ที่ 20 ระดับคุณภาพการบริหารและการจัดการระบบงานฟาร์มให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงธุรกิจ
      ตัวบ่งชี้ที่ 21 ระดับความเหมาะสมในการจัดศูนย์วิทยบริการ ให้เหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเกิดประโยชน์สูงสุด
      ตัวบ่งชี้ที่ 22 ระดับความเหมาะสมในการจัดให้มีครุภัณฑ์ และอุปกรณ์
      ตัวบ่งชี้ที่ 23 ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ในสาขาวิชา/สาขางาน
      ตัวบ่งชี้ที่ 24 ร้อยละของบุคลากรภายในสถานศึกษาได้รับการพัฒนาตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ
      ตัวบ่งชี้ที่ 25 จำนวนครั้งหรือปริมาณในการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
      ตัวบ่งชี้ที่ 26 จำนวนสถานประกอบการที่มีการจัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษา
      ตัวบ่งชี้ที่ 27 จำนวนคน-ชั่วโมงของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน
      ตัวบ่งชี้ที่ 28 อัตราส่วนของผู้สอนประจำที่มีคุณวุฒิวิชาชีพต่อผู้เรียนในแต่ละสาขาวิชา
      ตัวบ่งชี้ที่ 29 อัตราส่วนของผู้สอนประจำต่อผู้เรียน

 



แก้ไขล่าสุด ใน วันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2011 เวลา 04:44 น.  

พยากรณ์อากาศ


เข้าสู่ระบบ

เคาน์เตอร์ผู้เยี่ยมชม

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้32
mod_vvisit_counterเมื่อวานนี้171
mod_vvisit_counterสัปดาห์นี้856
mod_vvisit_counterสัปดาห์ก่อน802
mod_vvisit_counterเดือนนี้2844
mod_vvisit_counterเดือนก่อน3739
mod_vvisit_counterรวมทุกวัน412563

สถิติผู้เข้าชม

จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 159605

บุคคลออนไลน์ขณะนี้

เรามี 3 บุคคลทั่วไป ออนไลน์

โพลล์

ความพึงพอใจต่อการดาวโหลดเอกสารหน้าเว็บ